Tag Archives: สระน้ำอุ่น

วิธีฝึกดำน้ำลอดห่วงและการทำ Half Turn

วันนี้มาชมน้องๆ สมาชิก BABY SWIMMING สาขาสาทร-พระราม 3 ฝึกดำน้ำลอดห่วงและการทำ half turn ซึ่งเป็นทักษะหนึ่งในการช่วยเหลือตัวเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินกันนะคะ จะสนุกสนานแค่ไหนไปชมกันเลยค่า 🌐 babyswimmingthailand.com ✨มาร่วมมอบของขวัญล้ำค่าที่จะติดตัวลูกของคุณไปตลอดชีวิตกับ BABY SWIMMING...

มาสนุกค้นมหาสมบัติ (ใต้น้ำ) กันเถอะ

การว่ายน้ำนั้นไม่เพียงช่วยให้ลูกรักมีทักษะการเอาตัวรอดและมีร่างกายที่แข็งแรงเท่านั้นนะคะ แต่ยังสามารถสร้างพื้นฐานพัฒนาการด้านอารมณ์ที่แข็งแกร่งให้ลูกรักได้ด้วยหากช่วงเวลาของการว่ายน้ำเป็น Quality Time ที่เต็มไปด้วยความรักความอบอุ่นจากคุณพ่อคุณแม่ ความสนุกสนานจากการแหวกว่ายในสายน้ำและกิจกรรมเสริมต่างๆ ที่โรงเรียนสอนว่ายน้ำสำหรับเด็กแต่ละแห่งจะสร้างสรรค์ขึ้นมา และวันนี้ เรานำกิจกรรม ‘ดำน้ำลอดอุโมงค์เก็บของ’ มาฝากเบบี้และคุณพ่อคุณแม่ค่ะ รับรองว่าได้ทักษะการดำน้ำและว่ายน้ำที่ครบครัน แถมลูกรักยังสนุกสนานอารมณ์ดีกับการค้นหาสมบัติใต้น้ำอีกด้วย มาค่ะ… มาสนุกไปพร้อมๆ...

Go go go with sharks

น้องๆ จากคลาส Shark แห่ง BABY SWIMMING สาขารามคำแหง 112 (ในม.สัมมากร) กำลังฝึกจับ Kick Bord และเตะขาอย่างตั้งใจ ทักษะนี้เป็นการปูพื้นฐานสู่การว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ค่ะ จะสนุกกันขนาดไหน…รับชมกันได้เลยค่า...

ฝึกเบบี้เคลื่อนที่ในน้ำโดยใช้อุปกรณ์

เมื่อต้องการฝึกให้เจ้าตัวเล็กสามารถว่ายน้ำได้ เพียงแค่การลอยตัวอาจไม่เพียงพอนะคะ แต่เขาจำเป็นต้องเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนที่ไปในน้ำด้วย ซึ่งควรเริ่มจากการฝึกเคลื่อนที่ด้วยการเตะขา (Kick Kick) การดึงมือ (Paddle) โดยใช้อุปกรณ์ช่วยค่ะ และวันนี้เราก็มีวิธีฝึกพร้อมประโยชน์ของการฝึกเบบี้เคลื่อนที่ในน้ำโดยใช้อุปกรณ์ช่วยมาฝากคุณพ่อคุณแม่แล้วค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย… 1. เริ่มด้วย Kick Kick...

Hello Summer! สนุกเรียนรู้รับฤดูร้อนกันเถอะ

ช่วงซัมเมอร์ทั้งทีอย่ามัวอุดอู้อยู่กับบ้านกันเลยนะคะ จูงมือเจ้าตัวเล็กออกไปเรียนรู้โลกกว้างนอกบ้านกันดีกว่า วันนี้เรามีแหล่งเรียนรู้ทั้งในกรุงและนอกกรุงมาให้คุณพ่อคุณแม่เลือกพาลูกรักออกไปสัมผัสประสบการณ์สนุกๆ กันค่ะ ตามมาเร็ว 1. สนุกสร้างทักษะทางสังคมที่ KidZania รู้ไหมคะว่าพื้นที่บนชั้น 5 ของห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน ถูกเนรมิตให้กลายเป็นสังคมจำลองเล็กๆ สำหรับเด็กๆ ที่ชื่อว่า ‘KidZania’...

ฝึกเบบี้ดำน้ำ… สำคัญนะ

เชื่อว่าคุณพ่อคุณแม่หลายบ้านเล็งเห็นประโยชน์จากการให้ลูกรักได้เรียนรู้ทักษะการว่ายน้ำ เพื่อให้มีความสามารถในการเอาตัวรอดจากน้ำ แล้วรู้ไหมคะว่า อีกหนึ่งอาวุธที่ควรมีติดตัวลูกรักไปพร้อมกันก็คือ ‘การดำน้ำ’ ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยชีวิตเจ้าตัวเล็กยามฉุกเฉินค่ะ การดำน้ำสำคัญอย่างไร ควรฝึกแบบไหน มาดูคำตอบกันเลยค่ะ ตัวแค่นี้… เบบี้ดำน้ำได้เหรอ? เจ้าตัวเล็กนั้นเกิดมาพร้อมกับ ‘รีเฟล็กซ์การดำน้ำ’ (diving reflex)...

กิจกรรมฝึกความมั่นใจในน้ำ

น้องเตตั้น คลาส Shark จาก BABY SWIMMING สาขาบางแสน-ศรีราชา หลังจากเรียนว่ายน้ำจบคลาสแล้ว ยังมาเติมความสนุกสนานส่งท้ายก่อนกลับบ้านด้วยการโชว์ลีลาการชู้ทบาสและเกาะโฟมลอยตัวเพื่อฝึกความมั่นใจและความอดทนให้เพื่อนๆ ได้ชมกันค่า จะน่ารักขนาดไหนไปชมกันได้เลยนะค้าออเจ้า 🌐 babyswimmingthailand.com ✨มาร่วมมอบของขวัญล้ำค่าที่จะติดตัวลูกของคุณไปตลอดชีวิตกับ BABY SWIMMING...

‘ลอยตัวได้…ก็ว่ายน้ำได้’ มาฝึกลูกลอยตัวแบบนอนหงายกันเถอะ

อากาศร้อนๆ แบบนี้น่าพาเจ้าตัวเล็กลงเล่นน้ำคลายร้อนจังเลยนะคะ แต่อ๊ะๆ… ก่อนจะให้ลูกลงเล่นน้ำในสระให้เย็นชื่นใจ คุณพ่อคุณแม่ต้องแน่ใจก่อนว่าลูกน้อยของคุณมีทักษะการเอาตัวรอดในน้ำที่ดีมากเพียงพอ ดังนั้น ควรพาเขาไปเรียนรู้และฝึกทักษะการว่ายน้ำก่อนดีกว่า อย่างน้อยๆ ก็ให้เขาสามารถดำน้ำหรือลอยตัวได้… วันนี้เราเลยจะพามารู้จักการฝึกลูกน้อย ‘ลอยตัวในท่านอนหงาย’ กันค่ะ ทำไมเจ้าตัวเล็กต้องฝึกลอยตัว การลอยตัวเป็นพื้นฐานสำคัญของการว่ายน้ำค่ะ ถ้าลอยตัวไม่เป็นเจ้าตัวเล็กก็จะว่ายน้ำไม่ได้ค่ะ...

พลภัทร – ณัฏฐ์วิภา นิติธรรมยง ‘ฉลามสองตัวในสระเดียวกัน’

Related posts: BABY SWIMMING แรงบันดาลจากลูกสู่โรงเรียนสอนว่ายน้ำเด็กเล็กและทารกมาตรฐานโลก BABY SWIMMING ขอแสดงความยินดีกับผู้บริหารคนเก่งของเรา ดร. พลภัทร นิติธรรมยง ที่ได้รับคัดเลือกเป็น “บุคคลตัวอย่างภาคธุรกิจแห่งปี 2020″ รู้จัก...

รับมือเจ้าหนู ‘Terrible twos’ ด้วยการออกกำลังกาย

เมื่อเจ้าตัวเล็กย่างเข้าสู่วัย 2-3 ขวบ คุณพ่อคุณแม่หลายคนมักสังเกตเห็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของลูกรัก จากเบบี้ที่เคยว่านอนสอนง่ายอาจเริ่มกลายเป็นเด็กดื้อเจ้าอารมณ์จนทำให้คุณพ่อคุณแม่ปวดหัวและหวั่นใจ อย่าเพิ่งกังวลค่ะ พฤติกรรมเหล่านี้ไม่ใช่สิ่งแปลกมากมายแต่เป็นภาวะที่สามารถเกิดขึ้นได้กับลูกน้อย ซึ่งเราเรียกว่า “Terrible twos” อยากรู้ว่าเจ้าหนู Terrible twos จะมีพฤติกรรมแบบไหน คุณพ่อคุณแม่จะรับมือได้อย่างไร...